แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม การวางแผนและติดตามงานโดยใช้ trello
ที่มา: Teacher Top, https://www.youtube.com/watch?v=wc_BelAiQSo.
ตัวอย่างการสร้างแอบพลิเคชันเครื่องคิดเลขหรือปุ่มตัวเลข
ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=B-qj4vom938
คำสั่งในการทำงานของโมดูล tkinter ที่นำมาเสนอนั้นจะมีส่วนที่ช่วยในการสร้างหน้าจอ การออกแบบปุ่ม ข้อความ และตำแหน่งรวมไปถึงสีโดยสีนั้นจะมีการกำหนดในส่วนของหน้าจอ ตัวอักษร พื้นหลังของปุ่ม แถวหรือคอลัมน์ด้วยคำสั่ง fill จนคำสั่งปิดท้ายของโค้ดที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์การทำงานค้างไว้
ที่มา: https://www.mindphp.com/developer/tips-python/7085-instructions-for-running-the-tkinter-module-part.html
นักเรียนสามารถเข้าไปศึกษาเนื้อหาในการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน ด้วย Tkinter ได้จากเว็บไซต์ด้านล่าง
การสร้างแอบพลิเคชันด้วย Tkinter คลิกที่นี่เพื่อเว็บไซต์แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม นักเรียนสามารถเข้าไปศึกษาได้ค่ะ
คลิปวิดิโอสอนการสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้
ที่มา : ครูทีม วรวิทย์ ไชยวงศ์คต : https://www.youtube.com/watch?v=RwUm0IOEoV4
ตัวอย่างที่ 2.14 การเพิ่มปุ่มตัวเลขบนเครื่องคิดเลข
import tkinter as tk
def press(n):
global expression
global labellText
expression = expression+n
labellText.set(expression)
def clear():
global expression
global labellText
result='0'
expression = ''
labellText.set(result)
def equal():
try:
global expression
global labellText
result = str(eval(expression))
labellText.set(result)
except:
result = 'Error'
expression=''
labellText.set(result)
m=tk.Tk()
m.title('Main window')
expression=''
labellText=tk.StringVar()
labellText.set(expression)
labell=tk.Label(m, borderwidth=2, relief='ridge', textvariable=labellText, width=30)
labell.pack()
button1=tk.Button(m, text='1', width=25, command=lambda: press('1'))
button1.pack()
button=tk.Button(m, text='Stop', width=25, command=lambda: m.destroy())
button.pack()
m.mainloop()
กิจกรรมที่ 5.1 สร้างแอปพลิเคชัน
ให้นักเรียนปรับปรุงโปรแกรมจากตัวอย่างที่ 2.14 โดยเพิ่มปุ่มตัวเลขให้ครบทุกปุ่ม 0-9 และปุ่มเครื่องหมาย + - x / = ซึ่งถ้าคลิกที่ปุ่มเหล่านี้ให้นำตัวเลขหรือเครื่องหมายไปเชื่อมต่อกับนิพจน์ที่มีอยู่ก่อนหน้า และเพิ่มปุ่ม Clear ซึ่งเมื่อคลิกปุ่มนี้จะลบนิพจน์ที่เก็บอยู่ใน expression พร้อมกับปรับปรุงสตริงที่แสดงบน LabellText ให้เป็นสตริงว่าง
เมื่อนักเรียนทำเสร็จแล้วให้ทำการบันทึกงานในชื่อ เลขที่ชื่อจริงภาษาอังกฤษชั้นห้องtk22 เช่น 9suphannee301tk22 จากนั้นทำการแนบไฟล์ส่งใน google classroom หัวข้อ ส่งงานหน้าต่างโปรแกรมปุ่มตัวเลข ใน classroom ห้องตนเอง
ตัวอย่างที่ 2.15 การจัดวางวิดเจ็ตแบบกริด
import tkinter as tk
def press(n):
global expression
global labellText
expression = expression+n
labellText.set(expression)
def clear():
global expression
global labellText
result='0'
expression = ''
labellText.set(result)
def equal():
try:
global expression
global labellText
result = str(eval(expression))
labellText.set(result)
except:
result = 'Error'
expression=''
labellText.set(result)
m=tk.Tk()
m.title('Main window')
expression=''
labellText=tk.StringVar()
labellText.set(expression)
labell=tk.Label(m, borderwidth=2, relief="ridge", textvariable=labellText, width=20)
labell.grid(row=0, columnspan=2)
button1=tk.Button(m, text='0', width=6, command=lambda: press('0'))
button1.grid(row=1, column=0)
button2=tk.Button(m, text='1', width=6, command=lambda: press('1'))
button2.grid(row=1, column=1)
button3=tk.Button(m, text='clear', width=16, command=clear)
button3.grid(row=2, columnspan=2)
button=tk.Button(m, text='Stop', width=16, command=lambda: m.destroy())
button.grid(row=3, columnspan=2)
m.mainloop()
กิจกรรมที่ 5.2
จากตัวอย่างที่ 2.15 ให้นักเรียนทำการแก้ไขโปรแกรมโดยทำการเพิ่มเติมดังนี้
1) เขียนปุ่มให้ได้ตามรูปด้านบน
2) ในส่วน title ให้ใส่ชื่อ นามสกุลของนักเรียน
3) ทำการบันทึกงานโดยตั้งชื่อดังนี้ เลขที่ชื่อจริงชั้นห้องtk24 ตัวอย่าง 9suphannee313tk24 จากนั้นส่งใน google คลาสรูมหัวยข้อเดียวกับกิจกรรมที่ 5.1
เอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเองจัดทำขึ้นเพื่อเป็นเอกสารให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถนำไปใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน รายวิชาวิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเองนี้แบ่งเนื้อหาออกเป็นเรื่องต่าง ๆ ทั้งหมด 3 เรื่อง ดังนี้
แบบฝึกทักษะที่ 1 เรื่อง รู้จักภาษาไพทอน
แบบฝึกทักษะที่ 2 เรื่อง การเขียนคอมเมนต์ และฟังก์ชันแสดงผล
แบบฝึกทักษะที่ 3 เรื่อง คำสั่งรับค่าและคำสั่งเงื่อนไขในภาษาไพทอน
เอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเองนี้จัดทำขึ้นโดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและครูผู้สอนสามารถนำไปใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคำนวณ ง่ายต่อการทำความเข้าใจของผู้เรียน ด้วยลักษณะเฉพาะของเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเองทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทั้งในและนอกห้องเรียน เอกสารการเรียนรู้ด้วยนเองนี้ เป็นการเนื้อหาเรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอนซึ่งเป็นความรู้ใหม่และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเรียนในระดับที่สูงขึ้นในการเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันต่าง ๆ และสามารถนำไปประกอบการทำงานในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี
นักเรียนสามารถคลิกLink เอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน หรือสแกนคิวอาร์โค้ดด้านล่างเพื่อเข้าไปศึกษาและเรียนรู้ด้วยตนเองได้
SCAN ME